การศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง

ประชุมวิชาการ ปธพ.


แก้ปัญหาด้วยงานวิจัย

 

          มูลนิธิธรรมาภิบาลทางการแพทย์ร่วมกับแพทยสภา สนับสนุนการศึกษาและพัฒนาระบบการแพทย์ไทยด้วยธรรมาภิบาล โดยการจัดงานประชุมวิชาการประจำปี “โครงการประชุมวิชาการ ปธพ." และเสนอผลงานวิจัยของ นักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง (ปธพ.) แต่ละรุ่นจะระดมความรู้ ความคิด และประสบการณ์ เพื่อจัดทำผลงานวิจัยทางวิชาการ รุ่นละ 10 เรื่อง (โดยแบ่งนักศึกษาเป็น 10 กลุ่ม กลุ่มละ 1 เรื่อง) โดยเน้นให้ทำการศึกษาวิจัยปัญหาด้านสาธารณสุขด้านต่างๆของประเทศเพื่อนำมาแก้ไขพัฒนาในขณะศึกษาและเมื่อจบหลักสูตรจะนำผลงานวิจัยนั้นมานำเสนอต่อคณะกรรมการ และผู้บริหาร เพื่อนำไปใช้ในการแก้ไขบริหารระบบสาธารณสุขเป็นรูปธรรมต่อไป ปัจจุบันมีทั้งสิ้น 100 หัวข้อเรื่อง และเป็นที่น่ายินดียิ่งที่ผลงานวิชาการดังกล่าวจะถูกนำเสนอรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในปัจจุบันมีโครงการขยายไปให้ความรู้กับนิสิตนักศึกษาแพทย์ และ แพทย์ทั่วไปด้วย

          นอกจากนี้ยังถือเป็นการนำเสนอผลงานวิชาการให้สาธารณชนทราบโดยกว้าง และยังเป็นการทำงานร่วมกันตามหลักธรรมาภิบาลเพื่อสร้าง “แพทยสภาสมัยใหม่” ที่อยู่บนหลักการทำงานร่วมกัน สำหรับหัวข้อผลงานวิชาการของนักศึกษา ปธพ. แต่ละรุ่น มีดังนี้

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารทางการแพทย์ รุ่นที่ 1
กลุ่มที่ 1 ธรรมาภิบาลสำหรับศูนย์กลางการแพทย์ระดับนานาชาติ (Good Governance for Medical Hub)
กลุ่มที่ 2 การพิจารณาคดีจริยธรรมของแพทยสภา: การศึกษาคำพิพากษาศาลปกครอง
กลุ่มที่ 3 การบริหารจัดการทางการแพทย์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
กลุ่มที่ 4 ระบบร่วมจ่ายค่ารักษาพยาบาลที่เหมาะสมกับระบบสุขภาพไทยที่มีคุณภาพอย่างยั่งยืน
กลุ่มที่ 5 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อแพทย์ภาคเอกชนในการตัดสินใจไปทำงานในประเทศประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
กลุ่มที่ 6 บทบาทกระทรวงสาธารณสุขในด้านการบริหารจัดการระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ
กลุ่มที่ 7 การเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและเอกชนสำหรับบริการสาธารณสุขของประเทศไทย: กรณีศึกษาการเพิ่มบริการเครื่องมือแพทย์สมัยใหม่
กลุ่มที่ 8 แนวทางการจัดการบริบาลสุขภาพแบบเอกชนในโรงพยาบาลของรัฐอย่างมีธรรมาภิบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลตติยภูมิ
กลุ่มที่ 9 การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระบบหลักประกันสุขภาพไทย
กลุ่มที่ 10 การศึกษาด้านอัตรากำลังแพทย์และพยาบาล: นโยบายและแนวทางแก้ไข

 

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลสำหรับผู้บริหารทางการแพทย์ รุ่นที่ 2
กลุ่มที่ 1 การคุ้มครองผู้เสียหายจากบริการสาธารณสุข ทุกสิทธิด้วยการเพิ่มเติมมาตรา 41   แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ
กลุ่มที่ 2 การคุ้มครองผู้รับบริการในสถานพยาบาล : กรณีศึกษาสถานพยาบาลเสริมความงาม
กลุ่มที่ 3 ความพร้อมในการนำระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (Pay for Performance) มาใช้ในประเทศไทย
กลุ่มที่ 4 แนวทางการแก้กฎหมายฟ้องร้องทางอาญาคดีทางการแพทย์
กลุ่มที่ 5 ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนของประเทศไทยอย่างยั่งยืน (กรณีศึกษา : ชุมชนในจังหวัดชลบุรีและกาญจนบุรี)
กลุ่มที่ 6 ปัญหาการขาดแคลนพยาบาล : แนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน
กลุ่มที่ 7 การผลิตแพทย์หลักสูตรนานาชาติในประเทศไทย
กลุ่มที่ 8 ธรรมาภิบาลกับการบริหารทางการแพทย์สำหรับแรงงานต่างประเทศในประเทศไทย   กรณีศึกษา : อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
กลุ่มที่ 9 การบูรณาการให้บริการและการชดเชยค่าบริการรักษา พยาบาลผู้ป่วยในของระบบประกันสุขภาพสามกองทุน
กลุ่มที่ 10 การเปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านโดยโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย(Residency Training by Private Hospitals in Thailand)

 

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 3
กลุ่มที่ 1 Model การใช้ทรัพยากรบุคคลากรทางการแพทย์ร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์เฉพาะทาง
กลุ่มที่ 2 การเตรียมตัวของระบบทางการแพทย์และสาธารณสุขทั้งระบบกับสังคมผู้สูงวัยใน 5 ปี ข้างหน้าอย่างเป็นรูปธรรม
กลุ่มที่ 3 การพัฒนาต้นทุนมนุษย์ในเด็กและเยาวชนสู่สังคมที่ดี
กลุ่มที่ 4 การบริหารจัดการกิจการบ้านเมืองที่ดี
กลุ่มที่ 5 Medical Hub : กรณีสึกษาการเป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์สมุนไพรนานชาติอย่างมีธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 6 การวิเคราะห์ผลการบริหารงบประมาณของ สปสช. ภายใต้กฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การมีส่วนร่วมของสถานพยาบาลและทิศทางที่เหมาะสมตามหลักธรรมมา ภิบาล
กลุ่มที่ 7 การใช้หลักธรรมมาภิบาลในการพัฒนาระบบและนโยบายการเป็นหุ้นส่วนภาครัฐและเอกชนสำหรับระบบสาธารณสุขของประเทศ
กลุ่มที่ 8 การศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทีมีภาวะแทรกซ้อนทางไตระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กองทุนสวัสดิการข้าราชการ และกองทุนประกันสังคม
กลุ่มที่ 9 บทบาทของโรงพยาบาลและสถาบันเอกชนในระบบการแพทยศาสตร์ศึกษาหลังปริญญาตามหลักธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 10 โครงสร้างและระบบการมีส่วนร่วมเพื่อคุ้มครองประชาชนและผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุขตามหลักการของธรรมาภิบาล

 

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 4
กลุ่มที่ 1 การใช้ธรรมาภิบาลในการกำหนดนโยบายด้านอัตรา กำลังแพทย์และพยาบาลของประเทศไทย เช่น ประเด็น  คุณภาพชีวิตเพื่อความสมดุลและยั่งยืนของระบบ
กลุ่มที่ 2 ศึกษา วิเคราะห์ กฎหมาย และกลไกคุ้มครองเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้กับประชาชนในการรับบริการด้วยเทคโนโลยีใหม่ทางการแพทย์
กลุ่มที่ 3 การใช้หลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์แนวคิด การจ่ายร่วมค่ารักษาพยาบาลที่เหมาะสมกับระบบสุขภาพไทยที่มีคุณภาพและยั่งยืน
กลุ่มที่ 4 การพัฒนาระบบนโยบาย การเป็นหุ้นส่วนภาครัฐ-เอกชน สำหรับระบบสาธารณสุขของประเทศอย่างมีธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 5 นโยบายและรูปแบบ การพัฒนาประเทศในการเป็นศูนย์กลางการแพทย์นานาชาติอย่างมีธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 6 การควบรวมการบริหารจัดการ 3 กองทุนสุขภาพของประเทศ สปสช.-สปส.-สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ควรหรือไม่ อย่างไร โดยใช้หลักธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 7 การเตรียมตัวของระบบทางการแพทย์และสาธารณสุขทั้งระบบกับสังคมผู้สูงวัยใน 5 ปีข้างหน้าอย่างเป็นรูปธรรม
กลุ่มที่ 8 การปฏิรูประบบส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคของประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล (National Health Prevention Programs and Financing Reform)
กลุ่มที่ 9 ศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบของสื่อสังคม (Social Media) ต่อสุขภาพประเด็นปัญหา การป้องกัน การให้ความรู้และกลไกการควบคุมกำกับดูแล
กลุ่มที่ 10 ศึกษาปัญหา สิ่งเสพติด เหล้า บุหรี่ ในเยาวชน ในประเด็นนโยบายสาธารณะ และการบังคับใช้ตามหลักธรรมาภิบาล

 

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 5
กลุ่มที่ 1 การศึกษาเมืองต้นแบบในการดูแลผู้สูงอายุที่มีคุณภาพโดยใช้ชุมชนเป็นฐานเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี
กลุ่มที่ 2 การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพเพื่อการให้บริการทางคลินิก แก่ประชาชนไทยบนพื้นฐานธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 3 การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและความต้องการการดูแลด้านสุขภาพโดยภาครัฐของผู้สูงอายุกลุ่มสุขภาพดีหรือ Healthy aging มีอายุ 70 ปีขึ้นไป ในพื้นที่ทั้ง 50 เขตของกรุงเทพมหานคร
กลุ่มที่ 4 การนำหุ่นยนต์มาใช้ทางการแพทย์ และความรับผิดทางกฎหมาย
กลุ่มที่ 5 ผลกระทบของพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ที่มีผลต่อบุคลากรทาง การแพทย์ และระบบสาธารณสุข
กลุ่มที่ 6 การวิจัยสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการปรับปรุงการออกใบรับรองแพทย์เพื่อขอรับใบอนุญาตขับรถยนต์ 
กลุ่มที่ 7 Good governance in thai Healthcare Financing
กลุ่มที่ 8 การประเมินสถานการณ์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
ในระดับชุมชน
กลุ่มที่ 9 โครงการวิจัย “โมเดลระบบอภิบาลการสื่อสารข้อมูลสุขภาพในสื่อสังคมออนไลน์”
กลุ่มที่ 10 การเตรียมบุคลากรเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารโรงพยาบาลระดับโรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทั่วไป ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

 

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 6
กลุ่มที่ 1 ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและเอกชนในระบบสุขภาพกรณีศึกษา โครงการศูนย์การแพทย์เฉพาะทางกรมการแพทย์
กลุ่มที่ 2 การใช้หลักธรรมาภิบาลวิเคราะห์แนวคิด “การร่วมจ่ายค่ารักษาพยาบาล” ที่เหมาะสมกับระบบสุขภาพไทย ที่มีคุณภาพและยั่งยืน
กลุ่มที่ 3 การจัดทำข้อมูลสุขภาพชุมชน เพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงวัยในเขตเมือง ด้วยการใช้สื่อสารสนเทศ (กรณีศึกษาบางกอกน้อยโมเดล: Bangkoknoi Model)
กลุ่มที่ 4 ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ ในยุคประเทศไทย 4.0
กลุ่มที่ 5 โทรเวช (Telemedicine) ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประเทศไทย 4.0
กลุ่มที่ 6 ผลกระทบของการจัดตั้งศูนย์การแพทย์นานาชาติ ในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ต่อบุคลากรทางการแพทย์ ไทย
กลุ่มที่ 7 ธรรมาภิบาลกับการควบรวม 3 กองทุนสขุ ภาพ ของประเทศไทยกรณีศึกษา :“เจ็บปว่ยฉุกเฉินวิกฤติมีสิทธิทุกที่”
กลุ่มที่ 8 บทเรียนและมุมมองเชิงระบบ Ecosystem for Innovation  ในการพัฒนาหุ่นยนต์จัดยาครบวงจร ในยุค Thailand 4.0
กลุ่มที่ 9 บทบาทกระทรวงสาธารณสุขตามหลักธรรมาภิบาลในอุดมคติ
กลุ่มที่ 10 ประสิทธิผลการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย 2561

 

 

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 7
กลุ่มที่ 1 แนวทางการแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพพื้นฐานของประเทศไทย                                       
กลุ่มที่ 2 การสร้างเสริมธรรมาภิบาลของระบบความสัมพันธ์ระหว่างแพทยสภากับสถาบันผลิตแพทย์
กลุ่มที่ 3 5 G กับความพร้อมในการจัดการด้านสุขภาพ
กลุ่มที่ 4 การศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของพยาบาลโรงพยาบาลของรัฐ
กลุ่มที่ 5 การศึกษาแนวทางการป้องกันวัณโรคในแรงงานต่างด้าวจังหวัดเชียงรายตามหลักธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 6 ข้อเสนอเพื่อป้องกันผลกระทบของเกมอิเล็กทรอนิกส์ต่อสุขภาพจิตเด็กและเยาวชนในสังคมไทย
กลุ่มที่ 7 ผลกระทบของพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมดิจิทัล ต่อผลการเรียนภาวะสุขภาพจิต และสัมพันธภาพระหว่างบุคคล : ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างนักเรียนมัธยมต้นในโรงเรียนที่มีการใช้โทรศัพท์มือถือโดยอิสระในโรงเรียน และโรงเรียนที่ไม่อนุญาตให้มีการใช้โทรศัพท์มือถือในโรงเรียน
กลุ่มที่ 8 ปัญญาประดิษฐ์ในการแพทย์และการสาธารณสุขไทยประเด็นด้านการส่งเสริม พัฒนา การนำมาใช้และการกำกับดูแล
กลุ่มที่ 9 สิ่งกีดขวางดำเนินการโครงการร่วมลงทุนด้านสุขภาพ : มุมมองสากล
กลุ่มที่ 10 การศึกษาปัจจัยที่นำไปสู่แนวทางการพัฒนาการสื่อสารระหว่างบุคลากร
ทางการแพทย์และผู้รับบริการด้วยหลักธรรมาภิบาล
 

 

 
กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 8
กลุ่มที่ 1 การเตรียมตัวของระบบการแพทย์และสาธารณะสุขกับสังคมผู้สูงวัยใน 5 ปีข้างหน้าอย่างเป็นรูปธรรม                            
กลุ่มที่ 2 การใช้หลักธรรมาภิบาลในการกำหนดนโยบายด้านอัตรากำลังแพทย์และพยาบาลของประเทศประเด็น ภาระงานและคุณภาพชีวิตเพื่อความสมดุลและยั่งยืนของระบบ
กลุ่มที่ 3 การใช้หลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์แนวคิด "การร่วมจ่ายค่ารักษาพยาบาล" ที่เหมาะสมกับระบบสุขภาพไทยที่มี "คุณภาพและยั่งยืน"  
กลุ่มที่ 4 Teleconference และ telemedicine ทิศทางการให้บริการทางการแพทย์ยุค 4 G กับกฎหมาย และความรับผิด
ให้วิเคราะห์ผลดีผลเสียและการนำมาใช้ตามหลักธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 5 การปฏิรูป ระบบส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ของประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล
กลุ่มที่ 6 ศึกษาวิเคราะห์ "การบริหารงบประมาณของ สปสช." ระดับและองค์ประกอบของการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียตามหลักการธรรมาภิบาล  
กลุ่มที่ 7 Thailand Health Care 4.0 การเปลี่ยนแปลง การพัฒนาและแนวทางการปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล          
กลุ่มที่ 8 ศึกษา วิเคราะห์ กฎหมาย และกลไกคุ้มครองเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้กับประชาชนในการรับบริการด้วยเทคโนโลยีใหม่ทางการแพทย์
กลุ่มที่ 9 บทบาทของ "โรงพยาบาลและสถาบันเอกชนในกระบวนการแพทยศาสตร์ศึกษา กรณีทั้งก่อนและหลังปริญญา"นโยบายอย่างไร จึงจะเหมาะสมตามหลักธรรมาภิบาล  
กลุ่มที่ 10 การใช้หลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์บทบาทของกระทรวงสาธารณสุข ที่ควรจะเป็นในการบริหารจัดการระบบสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ บนดุลยภาพด้านทรัพยากรและความต้องการ

 

กลุ่ม หัวข้อเอกสารวิชาการของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรธรรมาภิบาลทางการแพทย์ สำหรับผู้บริหารระดับสูง รุ่นที่ 9
กลุ่มที่ 1 บทเรียนจากการบริหารจัดการวิกฤตโควิดของเครือข่ายสุขภาพจังหวัด “Lesson Learned from Covid-19 Attack: Provincial Health Networking Management”                  
กลุ่มที่ 2 ทัศนคติและพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของประชาชนต่อการได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19
กลุ่มที่ 3 การศึกษาวิธีการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชุมชนกรณีศึกษาโครงการเมืองอัจฉริยะ ชุมชนเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี
กลุ่มที่ 4 แนวทางการพัฒนาระบบบริการเพื่อการร่วมจ่ายของผู้ใช้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า 
กลุ่มที่ 5 การศึกษาวิเคราะห์ประสิทธิผลของการมุ่งเน้นพัฒนาผลิตแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอนุสาขาต่างๆ ของประเทศไทย
กลุ่มที่ 6 การศึกษาการเตรียมความพร้อมขององค์กรสุขภาพในประเทศไทยต่อพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล Personal Data Protection Act (PDPA)
กลุ่มที่ 7 หลักธรรมาภิบาลกับการพิจารณาคดีทางการแพทย์เพื่อคุ้มครองสิทธิของประชาชนและบุคลากรทางการแพทย์ 
กลุ่มที่ 8 รูปแบบการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) สาหรับส่งเสริมสุขภาพประชาชน เพื่อรองรับ Covid-19 อย่างมีส่วนร่วม : กรณีศึกษา กลุ่มวัยทางานในสถานประกอบการ
กลุ่มที่ 9 รูปแบบการร่วมลงทุนระหว่างรัฐและเอกชนในการบริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม (Public Private Partnership Model For Hemodialysis Services)
กลุ่มที่ 10 การยอมรับการใช้โทรเวชและปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โทรเวชของผู้รับบริการทางการแพทย์และบุคลากรทางสาธารณสุขในประเทศไทย

 

 



ล็อกอินเข้าสู่ระบบ


อีเมล *
รหัสผ่าน *
  ลืมรหัสผ่าน ?